พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ
พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้นั้น เริ่มต้นโดยการนำมาใช้ทำงานแทนงานประจำวัน
เพื่อให้เกิดความสะดวกรวดเร็วและถูกต้องมากขึ้น ซี่งเทคโนโลยีสารสนเทศได้มีการพัฒนาอย่าง
ต่อเนื่องไม่หยุดยั้ง ทำให้เกิดประโยชน์ต่อมนุษย์อย่างมหาศาลจนถือได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของการ
ทำงานและการใช้ชีวิตของคนในปัจจุบัน โดยพัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศสามารถสรุปได้
ยุคที่ 1 ระบบการประมวลผลข้อมูล (ค.ศ. 1950 – 1960)
ยุคนี้เป็นยุคแรก ๆ ของการนำคอมพิวเตอร์มาใช้งานบทบาทของคอมพิวเตอร์ยังเป็น
บทบาทที่ง่าย ๆ เป็นการนำเอาคอมพิวเตอร์มาช่วยทำงานประจำที่ใช้มนุษย์ปฏิบัติ เช่น การทำบัญชี
การเก็บรักษาบันทึกต่างๆ และการประมวลผลทางอิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ
การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้นั้น เริ่มต้นโดยการนำมาใช้ทำงานแทนงานประจำวัน
เพื่อให้เกิดความสะดวกรวดเร็วและถูกต้องมากขึ้น ซี่งเทคโนโลยีสารสนเทศได้มีการพัฒนาอย่าง
ต่อเนื่องไม่หยุดยั้ง ทำให้เกิดประโยชน์ต่อมนุษย์อย่างมหาศาลจนถือได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของการ
ทำงานและการใช้ชีวิตของคนในปัจจุบัน โดยพัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศสามารถสรุปได้
ยุคที่ 1 ระบบการประมวลผลข้อมูล (ค.ศ. 1950 – 1960)
ยุคนี้เป็นยุคแรก ๆ ของการนำคอมพิวเตอร์มาใช้งานบทบาทของคอมพิวเตอร์ยังเป็น
บทบาทที่ง่าย ๆ เป็นการนำเอาคอมพิวเตอร์มาช่วยทำงานประจำที่ใช้มนุษย์ปฏิบัติ เช่น การทำบัญชี
การเก็บรักษาบันทึกต่างๆ และการประมวลผลทางอิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ
ยุคที่
2 ระบบสร้างรายงานสำหรับผู้บริหาร (ค.ศ.1960-1970)
หลังจากการนำเอาคอมพิวเตอร์มาประมวลผลงานรายการต่าง ๆ ได้มีการเพิ่มบทบาท
ของคอมพิวเตอร์มาช่วยงานของผู้บริหาร โดยเริ่มมีการใช้คอมพิวเตอร์สร้างรายงาน การปฏิบัติงาน
หลังจากการนำเอาคอมพิวเตอร์มาประมวลผลงานรายการต่าง ๆ ได้มีการเพิ่มบทบาท
ของคอมพิวเตอร์มาช่วยงานของผู้บริหาร โดยเริ่มมีการใช้คอมพิวเตอร์สร้างรายงาน การปฏิบัติงาน
ต่างๆ ที่มีการกำหนดรูปแบบรายละเอียดไว้ล่วงหน้า
เป็นการสรุปผลการทำงานสำหรับผู้บริหารเพื่อ
ประกอบการตัดสินใจ เช่น รายงานยอดขาย ประจาสัปดาห์ ประจำเดือน
หรือประจำปี รายงานรายได้รายจ่ายขององค์กรหรือธุรกิจ เป็นต้น
ยุคที่
3 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (ค.ศ.1970-1980)
ต่อมาผู้บริหารพบว่ารายงานที่มีการกำหนดรายละเอียดไว้ก่อนเพียงอย่างเดียวนั้น ยังไม่
เพียงพอต่อการตัดสินใจของผู้บริหาร จึงเริ่มมีการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจขึ้นมาเป็น
ระบบที่นามาช่วยในการจำลองเพื่อหาสารสนเทศที่จำเป็นสาหรับผู้บริหาร ซึ่งมักจะเป็นการคำนวณหาค่าที่ต้องการแล้วนำมาพิจารณาประกอบในการตัดสินใจต่าง ๆ บทบาทใหม่นี้เป็นการจัดหาสารสนเทศให้กับผู้บริหาร ณ เวลาที่ต้องการและเป็นแบบที่ผู้บริหารโต้ตอบกับระบบโดยตรงเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ลักษณะของระบบสนับสนุนการตัดสินใจนี้จะเป็นระบบเฉพาะสำหรับผู้บริหารแต่ละคนตามความต้องการและวิธีการตัดสินใจในปัญหาต่าง ๆ
ต่อมาผู้บริหารพบว่ารายงานที่มีการกำหนดรายละเอียดไว้ก่อนเพียงอย่างเดียวนั้น ยังไม่
เพียงพอต่อการตัดสินใจของผู้บริหาร จึงเริ่มมีการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจขึ้นมาเป็น
ระบบที่นามาช่วยในการจำลองเพื่อหาสารสนเทศที่จำเป็นสาหรับผู้บริหาร ซึ่งมักจะเป็นการคำนวณหาค่าที่ต้องการแล้วนำมาพิจารณาประกอบในการตัดสินใจต่าง ๆ บทบาทใหม่นี้เป็นการจัดหาสารสนเทศให้กับผู้บริหาร ณ เวลาที่ต้องการและเป็นแบบที่ผู้บริหารโต้ตอบกับระบบโดยตรงเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ลักษณะของระบบสนับสนุนการตัดสินใจนี้จะเป็นระบบเฉพาะสำหรับผู้บริหารแต่ละคนตามความต้องการและวิธีการตัดสินใจในปัญหาต่าง ๆ
ยุคที่
4 บทบาทที่หลากหลาย (ค.ศ.1980-1990)
ระยะแรกสุด เป็นแบบผู้ใช้ปลายทางพัฒนาเอง (End User Computing) โดยผู้ใช้ระบบ
สารสนเทศใช้ระบบคอมพิวเตอร์และทรัพยากรที่มีอยู่ในการพัฒนาระบบสารสนเทศมาสนับสนุน
งานที่ตัวเองต้องการแทนการรอคอยให่ฝ่ายพัฒนาระบบขององค์กรพัฒนาให้
ระยะที่สอง มีการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง (EIS : Executive
Information Systems) ขึ้นมาระบบสารสนเทศ EIS นี้ทำให้ผู้บริหารระดับสูงได้รับข่าวสารเกี่ยวกับ
ระยะแรกสุด เป็นแบบผู้ใช้ปลายทางพัฒนาเอง (End User Computing) โดยผู้ใช้ระบบ
สารสนเทศใช้ระบบคอมพิวเตอร์และทรัพยากรที่มีอยู่ในการพัฒนาระบบสารสนเทศมาสนับสนุน
งานที่ตัวเองต้องการแทนการรอคอยให่ฝ่ายพัฒนาระบบขององค์กรพัฒนาให้
ระยะที่สอง มีการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง (EIS : Executive
Information Systems) ขึ้นมาระบบสารสนเทศ EIS นี้ทำให้ผู้บริหารระดับสูงได้รับข่าวสารเกี่ยวกับ
จุดวิกฤติขององค์กรที่ต้องการได้
ยุคที่
5 ระบบเครือข่ายสากล (ค.ศ. 1990-ปัจจุบัน)
ตั้งเเต่ทศวรรษ 1990 เป็นต้นมา พัฒนาการทางด้านการเชื่อมต่อเครือข่ายเป็นการ
เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์เเบบเปิดที่เครือข่ายใด ๆ ในโลกก็สามารถเชื่อมต่อเข้าสู่ระบบได้
เเละยังมีการนำเทคโนโลยีการเชื่อมต่อเเบบเดียวกันนี้ไปประยุกต์ใช้ในองค์กร เรียกว่า อินทราเน็ต
(Intranet) และระหว่างองค์กรที่เป็นเครือข่ายพันธมิตร เรียกว่า เอกซ์ทราเน็ต (Extranet) การดำเนิน
กิจกรรมต่าง ๆ โดยผ่านทางเครือข่ายเป็นไปอย่างกว้างขวาง สะดวก รวดเร็ว เช่น พาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce หรือ E-Commerce) เป็นการซื้อขายสินค้าผ่านเครือข่าย
ธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ การดำเนินธุรกิจธนาคารทางเครือข่าย หรือเเม้กระทั่งงานบริการจาก
ฝ่ายรัฐบาล ที่เรียกว่า รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-government) เป็นต้น
ตั้งเเต่ทศวรรษ 1990 เป็นต้นมา พัฒนาการทางด้านการเชื่อมต่อเครือข่ายเป็นการ
เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์เเบบเปิดที่เครือข่ายใด ๆ ในโลกก็สามารถเชื่อมต่อเข้าสู่ระบบได้
เเละยังมีการนำเทคโนโลยีการเชื่อมต่อเเบบเดียวกันนี้ไปประยุกต์ใช้ในองค์กร เรียกว่า อินทราเน็ต
(Intranet) และระหว่างองค์กรที่เป็นเครือข่ายพันธมิตร เรียกว่า เอกซ์ทราเน็ต (Extranet) การดำเนิน
กิจกรรมต่าง ๆ โดยผ่านทางเครือข่ายเป็นไปอย่างกว้างขวาง สะดวก รวดเร็ว เช่น พาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce หรือ E-Commerce) เป็นการซื้อขายสินค้าผ่านเครือข่าย
ธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ การดำเนินธุรกิจธนาคารทางเครือข่าย หรือเเม้กระทั่งงานบริการจาก
ฝ่ายรัฐบาล ที่เรียกว่า รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-government) เป็นต้น
อ้างอิงจากเว็บไซต์ : http://ad571758054phatcharin.blogspot.com/2015/02/blog-post_33.html